Planning

✍🏼 เขียนโปรดักท์โรดแมปอย่างไรให้มีกำลังใจทำงาน

โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องโฟกัสที่คนอื่น (ไม่ใช่ตัวเอง) โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องให้ผลลัพธ์ (ไม่ใช่ผลผลิต) โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องสร้างแรงบันดาลใจ (ไม่ใช่หนักใจ) 💆🏼

✍🏼 แนวทางในการลดความเสี่ยง 11 ข้อของสตาร์ทอัพ

สร้างสตาร์ทอัพที่มีโอกาสประสบความสำเร็จสูงขึ้นด้วยการลดความเสี่ยง 11 ข้อที่สำคัญลงตั้งแต่เนิ่นๆ ตั้งแต่ทีมงานไปจนถึงสถานที่ตั้ง 👫 → 🌎

✍🏼 ความเสี่ยง 11 ข้อของสตาร์ทอัพในช่วงเริ่มต้น

วิเคราะห์ 11 ความเสี่ยงนี้ดูแล้วเราจะเห็นภาพชัดเจนขึ้นว่าสตาร์ทอัพในช่วงเริ่มต้นของเราดึงดูดใจนักลงทุนได้มากแค่ไหน 💰😍

✍🏼 อย่าถามว่า “เป็นไปได้หรือไม่?”

เพราะในโลกของซอฟต์แวร์ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ แต่ก็ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรีๆเช่นกัน โปรดักท์ เมเนเจอร์ที่ดีต้องรู้จักการตั้งคำถามที่ถูกต้อง

✍🏼 ทุกอย่าง vs. บางอย่าง

บทสนทนาระหว่างอาจารย์และเพื่อนร่วมชั้นเรียนของผมเมื่อนานมาแล้วให้แนวคิดที่ดีมากในการทำโปรดักท์ หน้าที่ของเราไม่ใช่ตามใจคนทุกคนแต่เลือกที่จะทำอะไรที่ดีที่สุดสำหรับคนบางคน

✍🏼 เป้าหมายแรก – โปรโตไทป์แรก

การเริ่มต้นซอฟต์แวร์ทุกตัวน่าสนใจที่เป้าหมายแรก จะเรียกว่าไมล์สโตนแรกก็ได้ บางคนอยากเห็นงานคุณภาพสูง บางคนสนใจแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบละเอียด … ไม่ใช่พวกนี้เลยที่เราต้องการ โปรโตไทป์ต่างหากที่ควรเป็นเป้าหมายแรกของเรา

✍🏼 ทำไมยิ่งคนมากงานยิ่งเสร็จช้า

“ผู้หญิง 9 คนตั้งท้องใน 1 เดือนไม่ได้” คือประโยคสุดคลาสสิคที่เตือนใจเราว่าการเพิ่มคนทำงานเข้ามาในงานที่ซับซ้อนอย่างการพัฒนาซอฟต์แวร์นั้นไม่ได้ช่วยให้งานเสร็จเร็วขึ้นเสมอไป … ตรงกันข้ามเลย มันจะเสร็จช้าลงด้วยซ้ำ