Product

✍🏼 ทำไมทุกคนควรออกแบบยูไอ?

ถามว่าใครควรเป็นคนออกแบบยูไอ? บางทีเราอยากจะผลักภาระนี้ไปให้ดีไซเนอร์ แน่นอนว่ามันคือหน้าที่ของพวกเขา แต่ผมคิดว่าเราในฐานะโปรแกรมเมอร์ควรฝึกหัดทักษะนี้ได้ด้วยครับ เพราะ …

✍🏼 ซอฟต์แวร์ที่ดีคือ …?

อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ชี้วัดว่า “นี่คือซอฟต์แวร์ที่ดี”? … คำถามที่ตอบไม่ยาก ซอฟต์แวร์ที่ดีคือซอฟต์แวร์ที่มีคนใช้ คำตอบที่ง่ายแต่ทำจริงๆยากไม่ใช่เล่น

✍🏼 เบื้องหลังการสร้าง Facebook Platform

ลองดูวิดีโอที่เล่าเรื่องเบื้องหลังการสร้างเฟสบุ๊ก แพลตฟอร์มแล้วได้แรงบันดาลใจดีมากครับ คิดเร็ว ทำเร็ว รับฟัง มีอำนาจตัดสินใจ ประหยัด และสร้างอิมแพค

✍🏼 คิดให้ดีก่อน “เขียนใหม่” – ภาคสอง

การเขียนใหม่คือความเสี่ยงที่ยิ่งใหญ่ที่สุด เพราะเรากำลังจะโยนความรู้ที่สะสมมาในโค๊ดเบสเดิมทิ้งไป เรากำลังยื่นโอกาสทางการตลาดให้คู่แข่งที่กำลังไล่ตามมา และสำคัญที่สุด “เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าการเขียนใหม่ครั้งนี้จะดีกว่าเดิม?” ทางเลือกที่ดีกว่า …​มีแน่นอน 👉🏽

✍🏼 คิดให้ดีก่อน “เขียนใหม่” – ภาคหนึ่ง

มองดูซอฟต์แวร์ของตัวเองตรงหน้าแล้วรู้สึกสลดใจ มันเก่าเก็บ มันเทอะทะ มันไปต่อยาก … มันกระตุ้นต่อมอยากเขียนใหม่ให้ทำงาน เขียนด้วยเทคโนโลยีใหม่ เขียนด้วยไอเดียใหม่ๆ ดีมั้ย?

✍🏼 Usability Testing จะได้ผลดีที่สุดเมื่อทำกับผู้ใช้ไม่เกิน 5 คน

การทดสอบการใช้งานซอฟต์แวร์ตัวใหม่ของเราไม่จำเป็นต้องลงทุนทดสอบและสัมภาษณ์คนเป็นสิบเป็นร้อย … ตัวเลขจากสถิติบอกเราว่าแค่ห้าคนก็พอแล้ว เหตุผลคือ …

✍🏼 ความต้องการ vs. ความต้องการ

ถ้ามีคนบอกว่า “ขยายฟ้อนท์ให้หน่อย” เราจะมองว่ามันคือความต้องการ (Requirement) หรือความต้องการ (Need)? การทำซอฟต์แวร์ที่ดีไม่ใช่การขยายขนาดฟ้อนท์แต่มันคือการแก้ปัญหาที่ว่า “รายงานตอนนี้อ่านยาก” มากกว่า

✍🏼 อะเมซอนกับการทำงานย้อนหลัง

บริษัททั่วไปเริ่มจากซอฟต์แวร์ ไปต่อที่การตลาด และไปหาลูกค้า … เพื่อพบว่าสิ่งที่ตัวเองคิดว่าดีนั้นไม่ดีอย่างที่คิด อะเมซอนคิดต่างด้วยการทำงานย้อนหลังโดยที่ทุกอย่างเริ่มต้นจากลูกค้าก่อนเสมอ

✍🏼 โปรดักส์ต้องสร้างจากบนลงล่าง

กลยุทธ์การพัฒนาโปรดักท์แบบบนลงล่างคือแนวทางที่ถูกต้อง บนคือภาพใหญ่ ล่างคือรายละเอียด การโฟกัสที่แบ็กล็อกคือการลืมภาพใหญ่ ลืมวิชชั่นที่ตั้งไว้ … อย่าทำแบบล่างขึ้นบน

✍🏼 ความพอดีในการสร้างซอฟต์แวร์

เราไม่ได้ต้องการลูกค้า 100 คน แต่เราต้องการลูกค้า 10 คนที่พร้อมใช้งานระบบเดียวกันที่เราสร้างขึ้น ระบบเดิมที่เราจะพัฒนาต่อไปในอนาคต … ลูกค้า 100 คนที่ต่างคนต่างมีระบบของตัวเองคือปัญหาไม่ใช่โอกาส