Sales

✍🏼 สตาร์ทอัพกับการฝากขาย

การฝากขายมีสองแบบ 1️⃣ “เราฝากให้เขาขาย” หรือ 2️⃣ “เรามาแลกกันขายนะ” - ทุกครั้งทุกที่ทุกเวลา ข้อสองไม่ใช่ทางเลือกที่ดีเลยครับ 🖐🏼🙅🏼

✍🏼 ซื้อด้วยความหงุดหงิดเล็กน้อย

โปรดักท์ เมเนเจอร์จะทำงานร่วมกับทีมเซลล์และมาร์เก็ตติ้งอย่างไรให้ลูกค้าสนใจซื้อโปรดักท์ของเรา … ด้วยการสร้างความหงุดหงิดเล็กน้อยก็พอ 💁🏼‍♂️

✍🏼 สัญญาณ 4 ข้อที่บอกว่าลูกค้ายังไม่พร้อมรับโปรดักท์ใหม่ของสตาร์ทอัพ

เมื่อสตาร์ทอัพ (Startup) ของเราพยายามขายแต่ลูกค้ากลุ่มหนึ่งไม่พร้อมจะซื้อ สัญญาณ 4 ข้อที่บอกเราว่าถึงเวลาต้องถอนตัวก่อน

✍🏼 คนนี้ใช่ลูกค้าของสตาร์ทอัพ (Startup) รึเปล่า?

หน้าที่ในช่วงแรกของสตาร์ทอัพ (Startup) ไม่ใช่การขายให้ทุกคนแต่เป็นแค่บางคนที่ใช่จริงๆ คนที่เป็นลูกค้ากลุ่มแรกที่มีแค่ 4% ของคนทั้งหมด แล้วคนที่เหลือจะเริ่มทยอยตามมา

✍🏼 ขายต้นทาง

สตาร์ทอัพแบบ B2B จะเจอปัญหาเรื่องการขายค่อนข้างมาก เพราะโปรดักท์ที่ใหม่ทำให้ลูกค้าไม่กล้าซื้อ ไม่กล้าลงทุน ทางเลือกที่น่าสนใจคือขายให้ต้นทาง คนที่จะพาโปรดักท์ของเราไปหาลูกค้าปลายทางได้

✍🏼 ผลตอบแทน

การตั้งราคาที่ตายตัวโดยมองจากต้นทุนและสัดส่วนกำไรที่เราอยากได้นั้นหลายครั้งไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุด … ที่จริงแล้วมันน่าจะดีกว่าถ้าเราตั้งราคาจากผลตอบแทนที่ผู้ซื้อได้รับ

✍🏼 ประหยัดต้นทุน

การใช้คำว่า “ลดต้นทุน” ในการโน้มน้าวผู้ซื้อบางครั้งก็อาจจะส่งผลเสียให้กับเราโดยไม่ตั้งใจ เพราะลดต้นทุนมักจะถูกสื่อออกไปว่า “ลดคน” และ “ลดทีม” … เราควรพูดในมุมนี้มากกว่า

✍🏼 ราคาถูกกับการแข่งขันด้วยราคา

คนที่ปรับราคาลงเพราะการแข่งขันนั้นจะเจอความยากลำบากในการแข่งขันระยะยาว แต่คนที่ตั้งราคาให้ต่ำอย่างมีสติเพื่อการสร้างกำแพงในการแข่งขันนั้นสามารถเป็นผู้นำในตลาดได้