Product

✍🏼 อย่าถามว่า “เป็นไปได้หรือไม่?”

เพราะในโลกของซอฟต์แวร์ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ แต่ก็ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรีๆเช่นกัน โปรดักท์ เมเนเจอร์ที่ดีต้องรู้จักการตั้งคำถามที่ถูกต้อง

✍🏼 จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราทำโปรดักท์ไม่เสร็จ?

ถ้าเราตั้งเป้าหมายว่าทุกอย่างที่เราทำ ทุกฟีเจอร์ที่เราโค๊ดไปต้องรีลีส ต้องส่งมอบ … รู้ตัวเองไว้เลยว่าเรากำลังทำอะไรที่อนุรักษ์นิยมเกินไป

✍🏼 แบ็คล็อกกับวิชชั่น

โปรดักท์เมเนเจอร์คนแรกรู้เรื่องแบ็คล็อกอย่างดี โปรดักท์เมเนเจอร์คนที่สองเข้าใจเป้าหมายอย่างถ่องแท้ ถ้าเลือกได้เราอยากเป็นแบบไหน?

✍🏼 แล้วไงต่อ?

บางทีเราเห็นโปรดักท์บางตัวที่เหมือนทำไม่เสร็จ คิดไม่จบ ครึ่งๆกลางๆ มันก็ทำให้สงสัยในกระบวนการคิดเบื้องหลังว่า “ทำไมมันไปไม่สุด” – ปัญหานี้แก้ได้ด้วยคำถามเดียว

✍🏼 ฟีเจอร์ราคาแพง

ด้วยความพยายามอยากชนะใจลูกค้า เราเพิ่มฟีเจอร์ที่คิดว่าดีเข้าไปในทุกครั้งที่เราพยายามจะปรับปรุงโปรดักท์ คำถามคือฟีเจอร์เหล่านั้นถูกมองอย่างไรในสายตาผู้ซื้อ

✍🏼 โปรดักท์ที่ล้มเหลว

ข้อแตกต่างของโปรดักท์ที่สำเร็จและล้มเหลวคือความสำเร็จเกิดจากการจัดการปัจจัยทั้ง 4 ข้อนี้ได้ดี ส่วนที่ล้มเหลวคือ … พลาดแค่เรื่องเดียวก็จบแล้ว

✍🏼 คุณภาพ, ราคา, และความพึงพอใจ

บางธุรกิจพยายามใช้ราคาเป็นเครื่องซื้อใจลูกค้าด้วยความหวังที่ว่าราคาถูกจะสร้างความพึงพอใจได้ … มันก็ไม่เสมอไปเพราะมีลูกค้ามากมายที่มองความพึงพอใจและคุณภาพก่อนราคา

✍🏼 6 ขั้นตอนในการเข้าถึงใจผู้ใช้

ในฐานะคนทำโปรดักท์ หน้าที่สำคัญของเราคือการเข้าใจและเข้าถึงความปรารถนาของผู้ใช้ การรับฟังเพียงอย่างเดียวไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้อง แม้แต่การทำตามใจผู้ใช้ก็ไม่ใช่ทางเลือกที่ฉลาดสักเท่าไร … เราต้องฝึกฝนทักษะนี้ให้เก่งกว่าคนอื่น

✍🏼 ทำไมยูไอถึงใช้เวลานานที่สุด?

ทำโปรเจกต์มาเป็น 10 ปี ไม่เคยมีงานไหนที่ส่วนยูไอเสร็จก่อนชาวบ้านเลย ยูไอช้าที่สุด ยูไอคือคอขวด ยูไอแตกหักง่าย … เราต้องใช้เวลากับมันมากที่สุด ทำไม?

✍🏼 ทฤษฎีหน้าต่างแตก

เราสงสัยว่าทำไมซอฟต์แวร์ของเราไม่เรียบร้อย บั๊กเยอะ หนี้ทางเทคนิคก็พอกพูนขึ้นเรื่อยๆ แม้แต่กระบวนการทำงานด้านอื่นๆก็แย่ลง … ทฤษฎีหน้าต่างแตกมีคำตอบให้ … เพราะเราละเลยเรื่องหนึ่งมันจึงส่งผลกับอีกเรื่องหนึ่งโดยปริยาย