✍🏼 ฟีเจอร์ราคาแพง
ด้วยความพยายามอยากชนะใจลูกค้า เราเพิ่มฟีเจอร์ที่คิดว่าดีเข้าไปในทุกครั้งที่เราพยายามจะปรับปรุงโปรดักท์ คำถามคือฟีเจอร์เหล่านั้นถูกมองอย่างไรในสายตาผู้ซื้อ
ด้วยความพยายามอยากชนะใจลูกค้า เราเพิ่มฟีเจอร์ที่คิดว่าดีเข้าไปในทุกครั้งที่เราพยายามจะปรับปรุงโปรดักท์ คำถามคือฟีเจอร์เหล่านั้นถูกมองอย่างไรในสายตาผู้ซื้อ
เอไอคืออนาคต เอไอคือเรื่องสำคัญ แต่ไม่ใช่ว่าเราจะบังคับใช้เอไอได้กับทุกเรื่องในทุกสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีช่องว่างทางเทคโนโลยีอยู่
ข้อแตกต่างของโปรดักท์ที่สำเร็จและล้มเหลวคือความสำเร็จเกิดจากการจัดการปัจจัยทั้ง 4 ข้อนี้ได้ดี ส่วนที่ล้มเหลวคือ … พลาดแค่เรื่องเดียวก็จบแล้ว
คนที่ปรับราคาลงเพราะการแข่งขันนั้นจะเจอความยากลำบากในการแข่งขันระยะยาว แต่คนที่ตั้งราคาให้ต่ำอย่างมีสติเพื่อการสร้างกำแพงในการแข่งขันนั้นสามารถเป็นผู้นำในตลาดได้
ในขณะที่ใครหลายคนขวนขวายเพื่อคำว่า “มากกว่า” … เยอะกว่า บ่อยกว่า กว้างกว่า แต่เราจะเรียนรู้ในภายหลังว่าสิ่งสำคัญในการสร้างงานที่ดีคือคำว่า “พอแล้ว”
บางธุรกิจพยายามใช้ราคาเป็นเครื่องซื้อใจลูกค้าด้วยความหวังที่ว่าราคาถูกจะสร้างความพึงพอใจได้ … มันก็ไม่เสมอไปเพราะมีลูกค้ามากมายที่มองความพึงพอใจและคุณภาพก่อนราคา
ในฐานะคนทำโปรดักท์ หน้าที่สำคัญของเราคือการเข้าใจและเข้าถึงความปรารถนาของผู้ใช้ การรับฟังเพียงอย่างเดียวไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้อง แม้แต่การทำตามใจผู้ใช้ก็ไม่ใช่ทางเลือกที่ฉลาดสักเท่าไร … เราต้องฝึกฝนทักษะนี้ให้เก่งกว่าคนอื่น
ทำโปรเจกต์มาเป็น 10 ปี ไม่เคยมีงานไหนที่ส่วนยูไอเสร็จก่อนชาวบ้านเลย ยูไอช้าที่สุด ยูไอคือคอขวด ยูไอแตกหักง่าย … เราต้องใช้เวลากับมันมากที่สุด ทำไม?
เราสงสัยว่าทำไมซอฟต์แวร์ของเราไม่เรียบร้อย บั๊กเยอะ หนี้ทางเทคนิคก็พอกพูนขึ้นเรื่อยๆ แม้แต่กระบวนการทำงานด้านอื่นๆก็แย่ลง … ทฤษฎีหน้าต่างแตกมีคำตอบให้ … เพราะเราละเลยเรื่องหนึ่งมันจึงส่งผลกับอีกเรื่องหนึ่งโดยปริยาย
การสร้างซอฟต์แวร์ท่ีสนุกและให้ความรู้สึกเติมเต็มคือเมื่อเราได้มีโอกาสสร้างเซอร์ไพรส์อะไรบางอย่างให้ลูกค้า และถ้าเราทำหน้าที่ของเราได้ดีจริงๆ พวกเขาจะไม่เคยคิดถึงประเด็นที่เรากำลังนำเสนอ