✍🏼 งาน 3 รูปแบบของโปรดักท์ เมเนเจอร์
งาน 3 กลุ่มที่โปรดักท์ เมเนเจอร์ต้องรับผิดชอบ – 🧪 นวัตกรรม, 🌀 ปรับปรุง, และ 🛠 งานหลังบ้าน
งาน 3 กลุ่มที่โปรดักท์ เมเนเจอร์ต้องรับผิดชอบ – 🧪 นวัตกรรม, 🌀 ปรับปรุง, และ 🛠 งานหลังบ้าน
เราเป็นทีมโปรดักท์หรือทีมโซลูชั่นกันแน่? 🤔 ความแตกต่างของสองคำนี้จะเป็นตัวกำหนดแนวทางการทำธุรกิจทั้งหมดของเรา
ถ้าถามว่าทำไมทีมโปรดักท์ของเราถึงล้มเหลว - สัญญาณ 10 ข้อนี้ตอบเราได้ดีที่สุดเลย
เพราะในโลกของซอฟต์แวร์ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ แต่ก็ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรีๆเช่นกัน โปรดักท์ เมเนเจอร์ที่ดีต้องรู้จักการตั้งคำถามที่ถูกต้อง
กับสตาร์ทอัพที่เพิ่งเริ่มต้นแล้ว คำถามที่เหมาะสมไม่ใช่ว่า “บริษัทนี้จะครองโลกได้หรือไม่?” 🌏 แต่เป็นที่ว่า “บริษัทนี้จะใหญ่ได้แค่ไหนถ้าผู้ก่อตั้งทำสิ่งที่ถูกต้อง?” 🚀 – พอล แกรแฮม
ถ้าเรามี 20 ไอเดียที่อยากทำสตาร์ทอัพ (Startup) เราจะรู้ได้อย่างไรว่าไอเดียไหนดีกว่ากัน?
ถ้าเราตั้งเป้าหมายว่าทุกอย่างที่เราทำ ทุกฟีเจอร์ที่เราโค๊ดไปต้องรีลีส ต้องส่งมอบ … รู้ตัวเองไว้เลยว่าเรากำลังทำอะไรที่อนุรักษ์นิยมเกินไป
เมื่อสตาร์ทอัพ (Startup) ของเราพยายามขายแต่ลูกค้ากลุ่มหนึ่งไม่พร้อมจะซื้อ สัญญาณ 4 ข้อที่บอกเราว่าถึงเวลาต้องถอนตัวก่อน
โปรดักท์เมเนเจอร์คนแรกรู้เรื่องแบ็คล็อกอย่างดี โปรดักท์เมเนเจอร์คนที่สองเข้าใจเป้าหมายอย่างถ่องแท้ ถ้าเลือกได้เราอยากเป็นแบบไหน?
บางทีเราเห็นโปรดักท์บางตัวที่เหมือนทำไม่เสร็จ คิดไม่จบ ครึ่งๆกลางๆ มันก็ทำให้สงสัยในกระบวนการคิดเบื้องหลังว่า “ทำไมมันไปไม่สุด” – ปัญหานี้แก้ได้ด้วยคำถามเดียว