✍🏼 เมื่อไม่แน่ใจ … ก็กลับไปทำโปรดักท์ต่อดีที่สุด
ถ้าเรากำลังตกอยู่ในสถานการณ์ที่กึ่งๆสิ้นหวัง ท้อใจ และสับสนว่าจะไปทางไหนและทำอะไรต่อดี … ทำโปรดักท์ต่อให้เสร็จคือทางเลือกที่ดีที่สุด 💪🏽
ถ้าเรากำลังตกอยู่ในสถานการณ์ที่กึ่งๆสิ้นหวัง ท้อใจ และสับสนว่าจะไปทางไหนและทำอะไรต่อดี … ทำโปรดักท์ต่อให้เสร็จคือทางเลือกที่ดีที่สุด 💪🏽
สร้างสตาร์ทอัพที่มีโอกาสประสบความสำเร็จสูงขึ้นด้วยการลดความเสี่ยง 11 ข้อที่สำคัญลงตั้งแต่เนิ่นๆ ตั้งแต่ทีมงานไปจนถึงสถานที่ตั้ง 👫 → 🌎
วิเคราะห์ 11 ความเสี่ยงนี้ดูแล้วเราจะเห็นภาพชัดเจนขึ้นว่าสตาร์ทอัพในช่วงเริ่มต้นของเราดึงดูดใจนักลงทุนได้มากแค่ไหน 💰😍
ถ้าสตาร์ทอัพของเราต้องการพาร์ทเนอร์รายใหญ่ถึงจะประสบความสำเร็จ … เราอาจจะเลือกธุรกิจผิดก็ได้นะ ☹️
เงินมาพร้อมความคาดหวังซึ่งก็ว่ายากอยู่แล้ว แต่ถ้าความคาดหวังนั้นไม่ตรงกับสิ่งที่เราตั้งใจจะทำ? มันยิ่งยาก x 10 😇
กับสตาร์ทอัพที่เพิ่งเริ่มต้นแล้ว คำถามที่เหมาะสมไม่ใช่ว่า “บริษัทนี้จะครองโลกได้หรือไม่?” 🌏 แต่เป็นที่ว่า “บริษัทนี้จะใหญ่ได้แค่ไหนถ้าผู้ก่อตั้งทำสิ่งที่ถูกต้อง?” 🚀 – พอล แกรแฮม
ในฐานะสตาร์ทอัพ ให้คำปรึกษาฟรีกับลูกค้า – พวกเขาจะขอบคุณ 🤟🏼 // ให้คำปรึกษาแบบคิดเงิน – พวกเขาจะต้องการให้เราทำทุกอย่าง 🙇🏻♂️
สิ่งแรกและสิ่งที่จำเป็นที่สุดสำหรับความยั่งยืนของสตาร์ทอัพคือวัฒนธรรมองค์กร ไม่ใช่เทคโนโลยี โปรดักท์ ทีมงาน หรือแม้แต่ลูกค้าและรายรับ
ถ้าเรามี 20 ไอเดียที่อยากทำสตาร์ทอัพ (Startup) เราจะรู้ได้อย่างไรว่าไอเดียไหนดีกว่ากัน?
เมื่อมาถึงทางแยกซ้ายกับขวา ผู้นำสตาร์อัพอย่างเราจะเลือกอะไร? ศึกษาข้อมูลอย่างหนัก, สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญหลายคนหรือก็แค่กล้าที่จะเชื่อตัวเอง?