Piyorot

✍🏼 วัฒนธรรมคือสิ่งเดียวที่เป็นอมตะในสตาร์ทอัพ

สิ่งแรกและสิ่งที่จำเป็นที่สุดสำหรับความยั่งยืนของสตาร์ทอัพคือวัฒนธรรมองค์กร ไม่ใช่เทคโนโลยี โปรดักท์ ทีมงาน หรือแม้แต่ลูกค้าและรายรับ

✍🏼 จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราทำโปรดักท์ไม่เสร็จ?

ถ้าเราตั้งเป้าหมายว่าทุกอย่างที่เราทำ ทุกฟีเจอร์ที่เราโค๊ดไปต้องรีลีส ต้องส่งมอบ … รู้ตัวเองไว้เลยว่าเรากำลังทำอะไรที่อนุรักษ์นิยมเกินไป

✍🏼 สัญชาตญาณที่จำเป็นต่อการอยู่รอดของสตาร์ทอัพ (Startup)

เมื่อมาถึงทางแยกซ้ายกับขวา ผู้นำสตาร์อัพอย่างเราจะเลือกอะไร? ศึกษาข้อมูลอย่างหนัก, สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญหลายคนหรือก็แค่กล้าที่จะเชื่อตัวเอง?

✍🏼 สัญญาณ 4 ข้อที่บอกว่าลูกค้ายังไม่พร้อมรับโปรดักท์ใหม่ของสตาร์ทอัพ

เมื่อสตาร์ทอัพ (Startup) ของเราพยายามขายแต่ลูกค้ากลุ่มหนึ่งไม่พร้อมจะซื้อ สัญญาณ 4 ข้อที่บอกเราว่าถึงเวลาต้องถอนตัวก่อน

✍🏼 คนนี้ใช่ลูกค้าของสตาร์ทอัพ (Startup) รึเปล่า?

หน้าที่ในช่วงแรกของสตาร์ทอัพ (Startup) ไม่ใช่การขายให้ทุกคนแต่เป็นแค่บางคนที่ใช่จริงๆ คนที่เป็นลูกค้ากลุ่มแรกที่มีแค่ 4% ของคนทั้งหมด แล้วคนที่เหลือจะเริ่มทยอยตามมา

✍🏼 แบ็คล็อกกับวิชชั่น

โปรดักท์เมเนเจอร์คนแรกรู้เรื่องแบ็คล็อกอย่างดี โปรดักท์เมเนเจอร์คนที่สองเข้าใจเป้าหมายอย่างถ่องแท้ ถ้าเลือกได้เราอยากเป็นแบบไหน?

✍🏼 ขายต้นทาง

สตาร์ทอัพแบบ B2B จะเจอปัญหาเรื่องการขายค่อนข้างมาก เพราะโปรดักท์ที่ใหม่ทำให้ลูกค้าไม่กล้าซื้อ ไม่กล้าลงทุน ทางเลือกที่น่าสนใจคือขายให้ต้นทาง คนที่จะพาโปรดักท์ของเราไปหาลูกค้าปลายทางได้

✍🏼 คนรัก ♥️

สตาร์ทอัพคือการต่อสู้เพื่อรวบรวมคนที่รักเรา เพื่อนร่วมงาน, ลูกค้า, พาร์ทเนอร์, นักลงทุน … คำถามคือเราควรมองหาความรักจากใครก่อน