✍🏼 ว่ากันด้วยเรื่องโปรโตไทป์
“ถ้าหนึ่งภาพมีค่าเท่ากับหนึ่งพันคำพูดฉันใด ต้นแบบหนึ่งชิ้นก็มีค่าเท่ากับหนึ่งพันการประชุมฉันนั้น” 🖼
“ถ้าหนึ่งภาพมีค่าเท่ากับหนึ่งพันคำพูดฉันใด ต้นแบบหนึ่งชิ้นก็มีค่าเท่ากับหนึ่งพันการประชุมฉันนั้น” 🖼
ผมนึกไม่ออกว่าเคยเห็นซอฟต์แวร์ไหนที่มีผู้ใช้แค่กลุ่มเดียวใครๆก็ใช้ 5-Why กัน …เราขอลองทฤษฎีใหม่ 5-Who 🧑🏻👨🏻🦱👩🏼🦰🧕🏻👨🏿
โปรดักท์ที่ดีจะมีขอบเขตที่ชัดเจน มีจุดสำคัญที่มองเห็นง่าย และมีเส้นทางเชื่อมระหว่างจุดเหล่านั้นที่หลากหลาย – ความยืดหยุ่นคือสิ่งที่เราต้องค้นหาให้เจอ 🕵🏼♂️
ในฐานะคนทำโปรดักท์ หน้าที่สำคัญของเราคือการเข้าใจและเข้าถึงความปรารถนาของผู้ใช้ การรับฟังเพียงอย่างเดียวไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้อง แม้แต่การทำตามใจผู้ใช้ก็ไม่ใช่ทางเลือกที่ฉลาดสักเท่าไร … เราต้องฝึกฝนทักษะนี้ให้เก่งกว่าคนอื่น
การสร้างซอฟต์แวร์ท่ีสนุกและให้ความรู้สึกเติมเต็มคือเมื่อเราได้มีโอกาสสร้างเซอร์ไพรส์อะไรบางอย่างให้ลูกค้า และถ้าเราทำหน้าที่ของเราได้ดีจริงๆ พวกเขาจะไม่เคยคิดถึงประเด็นที่เรากำลังนำเสนอ
ถามว่าใครควรเป็นคนออกแบบยูไอ? บางทีเราอยากจะผลักภาระนี้ไปให้ดีไซเนอร์ แน่นอนว่ามันคือหน้าที่ของพวกเขา แต่ผมคิดว่าเราในฐานะโปรแกรมเมอร์ควรฝึกหัดทักษะนี้ได้ด้วยครับ เพราะ …
การทดสอบการใช้งานซอฟต์แวร์ตัวใหม่ของเราไม่จำเป็นต้องลงทุนทดสอบและสัมภาษณ์คนเป็นสิบเป็นร้อย … ตัวเลขจากสถิติบอกเราว่าแค่ห้าคนก็พอแล้ว เหตุผลคือ …
ถ้ามีคนบอกว่า “ขยายฟ้อนท์ให้หน่อย” เราจะมองว่ามันคือความต้องการ (Requirement) หรือความต้องการ (Need)? การทำซอฟต์แวร์ที่ดีไม่ใช่การขยายขนาดฟ้อนท์แต่มันคือการแก้ปัญหาที่ว่า “รายงานตอนนี้อ่านยาก” มากกว่า