✍🏼 ไทม์ไลน์ของโปรดักท์ เมเนเจอร์
ซัพพอร์ตมองระยะวันนี้ เซลล์มอง 3 เดือน มาร์เก็ตติ้ง 6 เดือน … โปรดักท์ เมเนเจอร์อย่างเราต้องไกลกว่านั้น 🔭
ซัพพอร์ตมองระยะวันนี้ เซลล์มอง 3 เดือน มาร์เก็ตติ้ง 6 เดือน … โปรดักท์ เมเนเจอร์อย่างเราต้องไกลกว่านั้น 🔭
องค์ความรู้ 4 ด้านที่จะช่วยเพิ่มโอกาสให้เราในฐานะโปรดักท์ เมเนเจอร์สร้างโปรดักท์ที่ประสบความสำเร็จได้อย่างยั่งยืน 🥇
เราเป็นทีมโปรดักท์หรือทีมโซลูชั่นกันแน่? 🤔 ความแตกต่างของสองคำนี้จะเป็นตัวกำหนดแนวทางการทำธุรกิจทั้งหมดของเรา
ถ้าถามว่าทำไมทีมโปรดักท์ของเราถึงล้มเหลว - สัญญาณ 10 ข้อนี้ตอบเราได้ดีที่สุดเลย
เพราะในโลกของซอฟต์แวร์ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ แต่ก็ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรีๆเช่นกัน โปรดักท์ เมเนเจอร์ที่ดีต้องรู้จักการตั้งคำถามที่ถูกต้อง
ถ้าเราตั้งเป้าหมายว่าทุกอย่างที่เราทำ ทุกฟีเจอร์ที่เราโค๊ดไปต้องรีลีส ต้องส่งมอบ … รู้ตัวเองไว้เลยว่าเรากำลังทำอะไรที่อนุรักษ์นิยมเกินไป
โปรดักท์เมเนเจอร์คนแรกรู้เรื่องแบ็คล็อกอย่างดี โปรดักท์เมเนเจอร์คนที่สองเข้าใจเป้าหมายอย่างถ่องแท้ ถ้าเลือกได้เราอยากเป็นแบบไหน?
บางทีเราเห็นโปรดักท์บางตัวที่เหมือนทำไม่เสร็จ คิดไม่จบ ครึ่งๆกลางๆ มันก็ทำให้สงสัยในกระบวนการคิดเบื้องหลังว่า “ทำไมมันไปไม่สุด” – ปัญหานี้แก้ได้ด้วยคำถามเดียว
ด้วยความพยายามอยากชนะใจลูกค้า เราเพิ่มฟีเจอร์ที่คิดว่าดีเข้าไปในทุกครั้งที่เราพยายามจะปรับปรุงโปรดักท์ คำถามคือฟีเจอร์เหล่านั้นถูกมองอย่างไรในสายตาผู้ซื้อ
ข้อแตกต่างของโปรดักท์ที่สำเร็จและล้มเหลวคือความสำเร็จเกิดจากการจัดการปัจจัยทั้ง 4 ข้อนี้ได้ดี ส่วนที่ล้มเหลวคือ … พลาดแค่เรื่องเดียวก็จบแล้ว