✍🏼 เขียนโปรดักท์โรดแมปอย่างไรให้มีกำลังใจทำงาน
โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องโฟกัสที่คนอื่น (ไม่ใช่ตัวเอง) โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องให้ผลลัพธ์ (ไม่ใช่ผลผลิต) โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องสร้างแรงบันดาลใจ (ไม่ใช่หนักใจ) 💆🏼
โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องโฟกัสที่คนอื่น (ไม่ใช่ตัวเอง) โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องให้ผลลัพธ์ (ไม่ใช่ผลผลิต) โปรดักท์โรดแมปที่ดีต้องสร้างแรงบันดาลใจ (ไม่ใช่หนักใจ) 💆🏼
อย่าทำโปรดักท์ที่ไม่มีฟีเจอร์ที่ว้าว อย่าทำแค่โปรดักท์ที่ตามคู่แข่ง 🥊 อย่าทำแค่โปรดักท์ที่ลูกค้าบอกว่าอยากได้ 🗣👂🏼
ถ้าเรากำลังตกอยู่ในสถานการณ์ที่กึ่งๆสิ้นหวัง ท้อใจ และสับสนว่าจะไปทางไหนและทำอะไรต่อดี … ทำโปรดักท์ต่อให้เสร็จคือทางเลือกที่ดีที่สุด 💪🏽
อย่าเริ่มและอย่าจบที่ User Story การเขียนรีไควเม้นท์ที่ดีมีอะไรมากกว่านั้นเยอะ 📝
ฟีเจอร์มากมาย - เลือกอย่างไรให้โปรดักท์เวอร์ชั่นแรกของเราประสบความสำเร็จในตลาดที่แข่งขันสูง 😺
ถ้าปฏิเสธอาจจะอดได้งาน ถ้าตอบรับอาจจะทำให้เป้าหมายขยับไกลออกไปอีก … เลือกทางไหนดี? 🎯
งาน 3 กลุ่มที่โปรดักท์ เมเนเจอร์ต้องรับผิดชอบ – 🧪 นวัตกรรม, 🌀 ปรับปรุง, และ 🛠 งานหลังบ้าน
สร้างสตาร์ทอัพที่มีโอกาสประสบความสำเร็จสูงขึ้นด้วยการลดความเสี่ยง 11 ข้อที่สำคัญลงตั้งแต่เนิ่นๆ ตั้งแต่ทีมงานไปจนถึงสถานที่ตั้ง 👫 → 🌎
วิเคราะห์ 11 ความเสี่ยงนี้ดูแล้วเราจะเห็นภาพชัดเจนขึ้นว่าสตาร์ทอัพในช่วงเริ่มต้นของเราดึงดูดใจนักลงทุนได้มากแค่ไหน 💰😍
โปรดักท์ เมเนเจอร์จะทำงานร่วมกับทีมเซลล์และมาร์เก็ตติ้งอย่างไรให้ลูกค้าสนใจซื้อโปรดักท์ของเรา … ด้วยการสร้างความหงุดหงิดเล็กน้อยก็พอ 💁🏼♂️