Piyorot

✍🏼 แบ็คล็อกกับวิชชั่น

โปรดักท์เมเนเจอร์คนแรกรู้เรื่องแบ็คล็อกอย่างดี โปรดักท์เมเนเจอร์คนที่สองเข้าใจเป้าหมายอย่างถ่องแท้ ถ้าเลือกได้เราอยากเป็นแบบไหน?

✍🏼 ขายต้นทาง

สตาร์ทอัพแบบ B2B จะเจอปัญหาเรื่องการขายค่อนข้างมาก เพราะโปรดักท์ที่ใหม่ทำให้ลูกค้าไม่กล้าซื้อ ไม่กล้าลงทุน ทางเลือกที่น่าสนใจคือขายให้ต้นทาง คนที่จะพาโปรดักท์ของเราไปหาลูกค้าปลายทางได้

✍🏼 คนรัก ♥️

สตาร์ทอัพคือการต่อสู้เพื่อรวบรวมคนที่รักเรา เพื่อนร่วมงาน, ลูกค้า, พาร์ทเนอร์, นักลงทุน … คำถามคือเราควรมองหาความรักจากใครก่อน

✍🏼 แล้วไงต่อ?

บางทีเราเห็นโปรดักท์บางตัวที่เหมือนทำไม่เสร็จ คิดไม่จบ ครึ่งๆกลางๆ มันก็ทำให้สงสัยในกระบวนการคิดเบื้องหลังว่า “ทำไมมันไปไม่สุด” – ปัญหานี้แก้ได้ด้วยคำถามเดียว

✍🏼 ผลตอบแทน

การตั้งราคาที่ตายตัวโดยมองจากต้นทุนและสัดส่วนกำไรที่เราอยากได้นั้นหลายครั้งไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุด … ที่จริงแล้วมันน่าจะดีกว่าถ้าเราตั้งราคาจากผลตอบแทนที่ผู้ซื้อได้รับ

✍🏼 เร็วที่สุด

หลายที่คนพยายามเลี่ยง หลายครั้งพวกเขาจะไม่ยึดติดกับคำว่าประสิทธิภาพให้มากเกินไป ประเภทที่ เราเร็วสุด แรงสุด เยอะสุด ขาวสุด ดำสุด ราคาถูกสุด

✍🏼 ประหยัดต้นทุน

การใช้คำว่า “ลดต้นทุน” ในการโน้มน้าวผู้ซื้อบางครั้งก็อาจจะส่งผลเสียให้กับเราโดยไม่ตั้งใจ เพราะลดต้นทุนมักจะถูกสื่อออกไปว่า “ลดคน” และ “ลดทีม” … เราควรพูดในมุมนี้มากกว่า

✍🏼 ฟีเจอร์ราคาแพง

ด้วยความพยายามอยากชนะใจลูกค้า เราเพิ่มฟีเจอร์ที่คิดว่าดีเข้าไปในทุกครั้งที่เราพยายามจะปรับปรุงโปรดักท์ คำถามคือฟีเจอร์เหล่านั้นถูกมองอย่างไรในสายตาผู้ซื้อ

✍🏼 เอไอกับผู้ใช้

เอไอคืออนาคต เอไอคือเรื่องสำคัญ แต่ไม่ใช่ว่าเราจะบังคับใช้เอไอได้กับทุกเรื่องในทุกสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีช่องว่างทางเทคโนโลยีอยู่

✍🏼 โปรดักท์ที่ล้มเหลว

ข้อแตกต่างของโปรดักท์ที่สำเร็จและล้มเหลวคือความสำเร็จเกิดจากการจัดการปัจจัยทั้ง 4 ข้อนี้ได้ดี ส่วนที่ล้มเหลวคือ … พลาดแค่เรื่องเดียวก็จบแล้ว